วันศุกร์ที่ 24 ธันวาคม พ.ศ. 2553

เทคนิคการพูดภาษาอังกฤษ

 เทคนิคการสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ (Speaking Skill)
การสอนภาษาทุกภาษา มีธรรมชาติของการเรียนรู้เช่นเดียวกัน คือ เริ่มจากการฟัง และการพูด  แล้วจึงไปสู่การอ่านและการเขียน ตามลำดับ   จุดมุ่งหมายของการพูด คือ การสื่อสารให้ผู้อื่นได้รับรู้ด้วยการพูดอย่างถูกต้องและคล่องแคล่ว  ครูผู้สอนควรมีความรู้และความสามารถอย่างไร  จึงจะสามารถจัดการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะการพูดให้แก่ผู้เรียนได้อย่างสอดคล้องกับระดับและศักยภาพของผู้เรียน

1.   ชื่อเรื่อง       เทคนิคการสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ( Speaking Skill)
2.   เกริ่นนำ       
การสอนภาษาทุกภาษา มีธรรมชาติของการเรียนรู้เช่นเดียวกัน คือ เริ่มจากการฟัง และการพูด  แล้วจึงไปสู่การอ่านและการเขียน ตามลำดับ  การสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษในเบื้องต้น  มุ่งเน้นความถูกต้องของการใช้ภาษา ( Accuracy)  ในเรื่องของเสียง  คำศัพท์  ( Vocabulary)   ไวยากรณ์ ( Grammar)   กระสวนประโยค (Patterns)  ดังนั้น  กิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนระดับต้นได้ฝึกทักษะการพูด  จึงเน้นกิจกรรมที่ผู้เรียนต้องฝึกปฏิบัติตามแบบ หรือ ตามโครงสร้างประโยคที่กำหนดให้พูดเป็นส่วนใหญ่  สำหรับผู้เรียนระดับสูง กิจกรรมฝึกทักษะการพูด จึงจะเน้นที่ความคล่องแคล่วของการใช้ภาษา ( Fluency) และจะเป็นการพูดแบบอิสระมากขึ้น  เพราะจุดมุ่งหมายที่แท้จริงของการพูด คือ การสื่อสารให้ผู้อื่นได้รับรู้ด้วยการพูดอย่างถูกต้องและคล่องแคล่ว  ครูผู้สอนจึงควรมีความรู้และความสามารถอย่างไร  จึงจะสามารถจัดการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะการพูดให้แก่ผู้เรียนได้อย่างสอดคล้องกับระดับและศักยภาพของผู้เรียน
1.    เทคนิควิธีปฎิบัติ
กิจกรรมการฝึกทักษะการพูด มี  3  รูปแบบ   คือ
1.1   การฝึกพูดระดับกลไก (Mechanical  Drills)  เป็นการฝึกตามตัวแบบที่กำหนดให้ในหลายลักษณะ  เช่น
พูดเปลี่ยนคำศัพท์ในประโยค (Multiple Substitution Drill) 
พูดตั้งคำถามจากสถานการณ์ในประโยคบอกเล่า (Transformation  Drill)
พูดถามตอบตามรูปแบบของประโยคที่กำหนดให้ (Yes/No  Question-Answer Drill)
พูดสร้างประโยคต่อเติมจากประโยคที่กำหนดให้  (Sentence  Building)
พูดคำศัพท์  สำนวนในประโยคที่ถูกลบไปทีละส่วน  (Rub out and Remember)
พูดเรียงประโยคจากบทสนทนา (Ordering  dialogues)
พูดทายเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในบทสนทนา (Predicting  dialogue)
พูดต่อเติมส่วนที่หายไปจากประโยค  ( Completing Sentences )
พูดให้เพื่อนเขียนตามคำบอก  (Split  Dictation)
ฯลฯ
1.2   การฝึกพูดอย่างมีความหมาย ( Meaningful  Drills)  เป็นการฝึกตามตัวแบบที่เน้นความหมายมากขึ้น มีหลายลักษณะ  เช่น 
                     พูดสร้างประโยคเปรียบเทียบโดยใช้รูปภาพ
                     พูดสร้างประโยคจากภาพที่กำหนดให้
                     พูดเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ในห้องเรียน
                     ฯลฯ
1.3   การฝึกพูดเพื่อการสื่อสาร  (Communicative  Drills)  เป็นการฝึกเพื่อมุ่งเน้นการสื่อสาร  เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างคำตอบตามจินตนาการ  เช่น
พูดประโยคตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง  ( Situation)
พูดตามสถานการณ์ที่กำหนดให้  ( Imaginary  Situation)
พูดบรรยายภาพหรือสถานการณ์แล้วให้เพื่อนวาดภาพตามที่พูด  ( Describe  and Draw)
ฯลฯ
2.     เอกสารอ้างอิง 
1.  กระทรวงศึกษาธิการ. ชุดฝึกอบรมครูสอนภาษาอังกฤษ ชุดที่ 3  Teaching 4  Skills  สำหรับวิทยากร: กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2539.
2.  อารีวรรณ  เอี่ยมสะอาด. คู่มือการพัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)  ช่วงชั้นที่ 1-2  (ป.1-ป.6)  ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน  พุทธศักราช 2544.  กรุงเทพฯ : บุ้ค พอยท์, 2546.
3.     บทเรียนที่ได้ (ถ้ามี)   
          การสอนทักษะการพูดโดยใช้กิจกรรมที่นำเสนอข้างต้น  จะช่วยสร้างเสริมคุณภาพทักษะการพูดของผู้เรียนให้พัฒนาขึ้น  จากความถูกต้อง ( Accuracy)  ไปสู่ ความคล่องแคล่ว ( Fluency)   ได้ตามระดับการเรียนรู้ และ ศักยภาพของผู้เรียน  ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความถี่ในการฝึกฝนเอย่างสมำเสมอ และต่อเนื่อง ช่นเดียวกับการฝึกทักษะการฟัง 
คำสำคัญ  ( Keywords)  
                                1. ทักษะการพูด
                                2.  ความถูกต้องของการใช้ภาษา ( Accuracy)
                                3.  ความคล่องแคล่วของการใช้ภาษา ( Fluency)  
                                4.  การฝึกพูดระดับกลไก (Mechanical  Drills) 
                                5. การฝึกพูดอย่างมีความหมาย ( Meaningful  Drills)
                                6. การฝึกพูดเพื่อการสื่อสาร  (Communicative  Drills)


http://images.onrawadee.multiply.multiplycontent.com/attachment/0/SZpQLQoKCDYAADPlOk41/%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%84%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%84%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%94.doc?key=onrawadee:journal:9&nmid=202812563

วันศุกร์ที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Poem





































Poetry as an art form may predate literacy.[9] Many ancient works, from the Indian Vedas (1700–1200 BC) and Zoroaster's Gathas (1200-900 BC) to the Odyssey (800675 BC), appear to have been composed in poetic form to aid memorization and oral transmission, in prehistoric and ancient societies.[10] Poetry appears among the earliest records of most literate cultures, with poetic fragments found on early monoliths, runestones, and stelae.
The oldest surviving epic poem is the Epic of Gilgamesh, from the 3rd millennium BC in Sumer (in Mesopotamia, now Iraq), which was written in cuneiform script on clay tablets and, later, papyrus.[11] Other ancient epic poetry includes the Greek epics Iliad and Odyssey, the Old Iranian books the Gathic Avesta and Yasna, the Roman national epic, Virgil's Aeneid, and the Indian epics Ramayana and Mahabharata.


The methods for creating poetic rhythm vary across languages and between poetic traditions. Languages are often described as having timing set primarily by accents, syllables, or moras, depending on how rhythm is established, though a language can be influenced by multiple approaches.[29] Japanese is a mora-timed language. Syllable-timed languages include Latin, Catalan, French, Leonese, Galician and Spanish. English, Russian and, generally, German are stress-timed languages. Varying intonation also affects how rhythm is perceived. Languages also can rely on either pitch, such as in Vedic or ancient Greek, or tone. Tonal languages include Chinese, Vietnamese, Lithuanian, and most subsaharan languages.[30]
Metrical rhythm generally involves precise arrangements of stresses or syllables into repeated patterns called feet within a line. In Modern English verse the pattern of stresses primarily differentiate feet, so rhythm based on meter in Modern English is most often founded on the pattern of stressed and unstressed syllables (alone or elided). In the classical languages, on the other hand, while the metrical units are similar, vowel length rather than stresses define the meter. Old English poetry used a metrical pattern involving varied numbers of syllables but a fixed number of strong stresses in each line.[31]
The chief device of ancient Hebrew Biblical poetry, including many of the psalms, was parallelism, a rhetorical structure in which successive lines reflected each other in grammatical structure, sound structure, notional content, or all three. Parallelism lent itself to antiphonal or call-and-response performance, which could also be reinforced by intonation. Thus, Biblical poetry relies much less on metrical feet to create rhythm, but instead creates rhythm based on much larger sound units of lines, phrases and sentences. Some classical poetry forms, such as Venpa of the Tamil language, had rigid grammars (to the point that they could be expressed as a context-free grammar) which ensured a rhythm.[32] In Chinese poetry, tones as well as stresses create rhythm. Classical Chinese poetics identifies four tones: the level tone, rising tone, departing tone, and entering tone. Note that other classifications may have as many as eight tones for Chinese and six for Vietnamese.
The formal patterns of meter used in Modern English verse to create rhythm no longer dominate contemporary English poetry. In the case of free verse, rhythm is often organized based on looser units of cadence rather than a regular meter. Robinson Jeffers, Marianne Moore, and William Carlos Williams are three notable poets who reject the idea that regular accentual meter is critical to English poetry.[33] Jeffers experimented with sprung rhythm as an alternative to accentual rhythm.[34]





วันศุกร์ที่ 3 ธันวาคม พ.ศ. 2553

Confusing words

ABANDON , DESERT , LEAVE
1.abandon(v) = ละทิ้ง ใช้ในความหมายของการยอมแพ้ หมดหวัง ถ้าเป็นวัตถุสิ่งของ จะหมายถึง การละทิ้ง ทอดทิ้ง หรือปล่อยปละละเลย 

Ex.      Mark abandoned
his car.
       
     มาร์คทิ้งรถยนต์ของเขา
            Mue abandoned his hope to study abroad.             มิวละทิ้งความหวังที่จะไปเรียนต่อต่างประเทศ
2.desert(v) = ละทิ้ง หนีจาก และไม่คิดจะหวนกลับไปอีก บางครั้งก็ใช้ในความหมายถึง การละทิ้งหน้าที่ทหาร 
Ex.    Most of the villagers deserted this village.
          ชาวบ้านส่วนใหญ่ได้ละทิ้งหมู่บ้านแห่งนี้ไป

          A soldier who deserts his post will be punished.
          ทหารที่ละทิ้งหน้าที่จะถูกลงโทษ

3.leave(v) =
ทิ้ง จาก ละ ออกเดินทาง คำนี้จะใช้ในความหมายกว้างๆ  ( V2 : left , V3 : left )

Ex.   I left a note for him at his desk.
         ฉันทิ้งข้อความไว้ให้เขาที่โต๊ะ

         The plane leaves the airport at 10 o'clock.
          เครื่องบินออกจากสนามบินเวลา 10.00 น.


DEMAND DESIRENEED REQUIREWANT , WISH1.demand (v) = การเรียกร้อง
หรือบังคับให้ได้มาซึ่งความต้องการนั้นๆ
  เช่น
Ex.  The laborers demand to increase their wages.
กรรมกรทั้งหลายเรียกร้องขอขึ้นค่าจ้างของพวกเขา



2.desire(v) = ปรารถนา
ใช้แสดงความต้องการของผู้พูดอย่างแรงกล้า 
แต่จะสำเร็จหรือไม่นั้นเป็นอีกเรื่องหนึ่ง
   เช่น
Ex.   My friends desires that woman to be his bride.
เพื่อนของฉันปรารถนาจะได้หญิงคนนั้นมาเป็นเจ้าสาว



3.need (v) = ต้องการบางสิ่ง 
หรือทำบางอย่างซึ่งจำเป็นอย่างยิ่ง
จะขาดไม่ได้
  เช่น
Ex.  I need the key to open this door.
ฉันต้องการกุญแจเพื่อเปิดประตูบานนี้


4.require (v) = ประสงค์ ต้องการตามข้อกำหนด
ตามระเบียบ กฎเกณฑ์
  เช่น
Ex. You are required 600 of the TOEFL scores.
คุณต้องได้คะแนนจากการสอบ TOEFL 600 คะแนน


5.want (v) = ความต้องการ อยากได้สิ่งทั่วๆไป
โดยเฉพาะในสิ่งที่เราไม่มี และสิ่งที่ต้องการนั้นอาจไม่สู้จำเป็นก็ได้ 
แต่ก็ยังต้องการอยู่
  เช่น
 Ex.  She wants to have a new car,but it is too expensive.
หล่อนอยากได้รถใหม่สักคัน แต่มันแพงเกินไป



6.wish (v) = ปรารถนา เป็นความหวังดีจากอีกฝ่ายหนึ่ง  เช่น
Ex.  She wished me good luck.
เธอปรารถนาให้ฉันโชคดี
กรณีที่ปรารถนาในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้  อนุประโยคที่ตามมาใช้ในรูป past
I wish I could fly.
ฉันปรารถนาจะบินได้

 

ERRAND , EXCURSIONJOURNEY ,
TRAVEL ,
VOYAGE1.errand (n) = การเดินทางเพื่อทำธุระ 

Ex.   I send him on an errand to a nearby town.
ฉันส่งเขาไปทำธุระที่เมืองข้างๆ



2.excursion(n) = การเดินทางหรือการท่องเที่ยวในระยะสั้นๆ

Ex.   We agreed to go on a shopping excursion this Sunday.
พวกเราตกลงที่จะเดินทางไปซื้อของกันในวันอาทิตย์นี้



3.journey(n) = การเดินทาง ใช้เพื่อแสดงให้เห็นถึงระยะทาง

Ex.  I took a boat journey to the next town.
ฉันเดินทางโดยเรือไปยังเมืองถัดไป

Could you tell us about your journey to the Rocky Mountains?
คุณช่วยเล่าเรื่องการเดินทางของคุณที่ไปยังเทือกเขาร็อคกี้ได้ไหม?



4.travel(n) = การเดินทาง
แสดงการเดินทางจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง
 
Ex.  I have planned some travels for this summer holiday.
ฉันวางแผนการเดินทางเอาไว้สำหรับฤดูร้อนนี้



5.voyage(n) = การเดินทางโดยเรือ 
Ex.  How many days it takes to go on a voyage from Thailand to China?
ต้องใช้เวลากี่วันในการเดินทางโดยเรือจากประเทศไทยไปยังจีน?